การพิ่มผลผลิตและปรับปรุงคุณภาพด้วยวิธี Six Sigma เป็นหลักสูตรที่ประกอบไปด้วยหลักการ แนวคิด วิธีการและการประยุกต์เทคนิคการบริหารจัดการเพื่อการเพิ่มผลผลิตและปรับปรุงคุณภาพ ทั้งอุตสาหกรรมการผลิตและอุตสาหกรรมการบริการ เหมาะสำหรับ ผู้ปฏิบัติงาน หัวหน้างาน วิศวกร ผู้จัดการ ผู้บริหาร ในอุตสาหกรรมการผลิตและอุตสาหกรรมบริการและผู้สนใจทั่วไป
วิทยากร/ผู้สอน: ดร.เจษฎา ทิพย์มณเฑียร
Jedsada Tipmontian, PhD (Industrial Engineering)
Affiliated Institute: King Mongkut’s University of Technology North Bangkok, Thailand
(Specialization: Productivity Improvement, Quality Management, Production and Operation Management, Quantitative Methods and Operation Analytics, Logistics and Supply Chain Management, Risk Management)
ขออภัย คุณไม่ได้รับอนุญาตให้เข้าสู่บทเรียนหลักสูตร การพิ่มผลผลิตและปรับปรุงคุณภาพด้วยวิธี Six Sigma เนื่องจากคุณยังไม่ได้ลงทะเบียนหรือ user name ของคุณที่ใช้อยู่ขณะนี้ไม่ได้รับอนุญาตให้เข้าสู่บทเรียน หากท่านสนใจเข้าสูบทเรียนทั้งหมดของหลักสูตรหรือสนใจเข้าสู่บทเรียนบาง Module โปรดติตต่อ info@allcourses.org
Module 1 | การพิมผลผลิตและปรับปรุงคุณภาพด้วยวิธี Six Sigma 1 |
Unit 1 | แนวคิดการจัดการคุณภาพ 1 |
Unit 2 | แนวคิดการจัดการคุณภาพ (ต่อ) 2 |
Unit 3 | แนวคิดการจัดการคุณภาพ (จบ) |
Unit 4 | ทำความรู้จัก Six Sigma |
Module 2 | การพิมผลผลิตและปรับปรุงคุณภาพด้วยวิธี Six Sigma 2 |
Unit 1 | ทบทวนสถิติและความน่าจะเป็นครั้งที่ 1 |
Unit 2 | ทบทวนสถิติและความน่าจะเป็นครั้งที่ 2 |
Unit 3 | ทบทวนสถิติและความน่าจะเป็นครั้งที่ 3 |
Unit 4 | ทบทวนสถิติและความน่าจะเป็นครั้งที่ 4 |
Module 3 | การพิมผลผลิตและปรับปรุงคุณภาพด้วยวิธี Six Sigma 3 |
Unit 1 | ทำความรู้จักตรรกศาสตร์คลุมเครือ : ทำไมถึงใช้ง่ายและสะดวกกว่าวิธีสถิติ |
Unit 2 | หลักการและวิธีการตรรกศาสตร์คลุมเครือ |
Unit 3 | การประยุกต์ตรรกคลุมเครืออย่างง่าย กรณีวิธีการทางสถิติไม่สามารถใช้ได้ |
Module 4 | การพิมผลผลิตและปรับปรุงคุณภาพด้วยวิธี Six Sigma 4 |
Unit 1 | ทบทวนระบบการจัดการคุณภาพ |
Unit 2 | ต้นทุนคุณภาพ (Cost of Quality) และเครืองมือสำหรับ TQM (TQM Tools) |
Unit 3 | การกระจายหน้าที่เชิงคุณภาพ (QFD) และ ISO 9000 |
Unit 4 | คุณภาพการให้บริหาร: Competing Through Service Quality |
Unit 5 | ความรู้เบื้องต้นของการบริหารโครงการ (Introduction to Project Management) |
Unit 6 | วงจรชีวิตโครงการ (Project Life Cycle) |
Unit 7 | วิธีเส้นทางวิกฤติ (Critical Path Method) |
Module 5 | การพิมผลผลิตและปรับปรุงคุณภาพด้วยวิธี Six Sigma 5 |
Unit 1 | การวิเคราะห์ระบบการวัด (Measurement System Analysis) |
Unit 2 | เทคนิคการสุ่มตัวอย่างเพื่อการยอมรับ (Acceptance Sampling Plan) |
Unit 3 | การออกแบบแผนการสุ่มตัวอย่าง (Design of Sampling Plans) |
Unit 4 | แผนการสุ่ม (MIL-STD-105E Sampling Plan) |
Unit 5 | การควบคุมกระบวนการด้วยวิธีการทางสถิติ (Statistical Process Control: SPC) |
Unit 6 | ตัวอย่างแผนภูมิควบคุม (Control Chart Examples) |
Module 6 | การพิมผลผลิตและปรับปรุงคุณภาพด้วยวิธี Six Sigma 6 |
Unit 1 | เทคนิคการสร้างแผนภูมิควบคุมด้วย Ms-Execl (Control Charts by Ms-Excel) |
Unit 2 | ความสามารถของกระบวนการ (Process Capability) |
Unit 3 | การกระจายหน้าที่เชิงคุณภาพ (Quality Function Deployment) |
Unit 4 | บทนำ: การออกแบบการทดลอง (Design of Experiments – Overview) |
Unit 5 | แผนการวางแผนสำหรับการออกแบบการทดลอง (Planning for DOE) |
Unit 6 | วิธีการคำนวณหาอิทธิพลของปัจจัย (Factor Effect Calculations) |
Unit 7 | การวิเคราะห์ความแปรปรวนในการออกแบบการทดลอง (ANOVA in DOE) |
Module 7 | การพิมผลผลิตและปรับปรุงคุณภาพด้วยวิธี Six Sigma 7 |
Unit 1 | วิธีการวัดเปรียบเทียบสมรรถนะ ( How to Benchmark) |
Unit 2 | การใช้ Six Sigma ในโซ่อุปทาน (Six Sigma in Supply Chains) |
Unit 3 | วิธีการ Taguchi (Taguchi Methods) |
Unit 4 | การพัฒนาก่อนจะมาเป็น Six Sigma (The Journey to Six Sigma) |
Unit 5 | กรณีศึกษาการลดของเสียในอุตสาหกรรม (A Case Study of Defect Reduction) |
Unit 6 | การออกแบบสำหรับอุตสาหกรรมการผลิตและความน่าเชือถือ (DFM and Reliability) |
Unit 7 | การวิเคราะห์ความล้มเหลวและผลกระทบ (Failure Modes & Effects Analysis: FMEA) |
Unit 8 | การนำ Six Sigma ไปประยุกต์เพื่อปรับปรุงคุณภาพและเพิ่มผลผลิต (Implementing Six Sigma) |